หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำ ชุดเรือหลวงคำรณสินธุ ..

ข้อมูล เรือตรวจการณ์ปราบเรือดำน้ำชุด เรือหลวงคำรณสินธุ จำนวน 3 ลำ ของกองทัพเรือไทย ..
ชื่อเรือ หมายเลข และวันที่ขึ้นระวางประจำการ
531 ร.ล.คำรณสินธุ (29 กรกฎาคม 2535)
532 ร.ล.ทะยานชล (5 กันยายน 2535)
533 ร.ล.ล่องลม (2 ตุลาคม 2535)

ผู้สร้าง
Italthai Marine ประเทศไทย (531 และ 532)
กรมอู่ทหารเรือ กองทัพเรือไทย (533)

คุณลักษณะ
ระวางขับน้ำปกติ 475 ตัน เต็มที่ 550 ตัน
ความยาว 62.0 ม. ความกว้าง 8.2 ม. กินน้ำลึก 3.2 ม.
ความเร็วสูงสุด 25 น็อต ความเร็วเดินทาง 15 น็อต
ระยะปฏิบัติการที่ความเร็วสูงสุด 1,030 ไมล์ ที่ความเร็ว เดินทาง 2,850 ไมล์
กำลังพลประจำเรือ 58 นาย
เครื่องจักร
เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MTU 12V 1163 TB93 กำลัง 4,130 แรงม้า 2 เครื่อง
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้
อาวุธ
ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Compact ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น
ปืนใหญ่กล Breda/Rheinmetall Mauser Mk 30 mod F ขนาด 30 มม./82 คาลิเบอร์ แท่นคู่ 1 แท่น
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่น เดี่ยว 4 แท่น
แท่นยิง PMW49A (STWS-2) สำหรับตอร์ปิโด Raytheon Mk 44 mod 1 หรือ BAE Sting Ray 2 แท่น แท่นละ 3 ท่อยิง
รางปล่อยระเบิดลึก Mk 9 สำหรับระเบิดลึก Mk 6 2 ราง รางละ 8 ลูก หรือ Mk 9 2 ราง รางละ 10 ลูก
รางปล่อยทุ่นระเบิด 1 ราง สำหรับทุ่นระเบิด Mk 6 หรือ Mk 18
อิเล็กทรอนิกส์
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ BAE AWS-4
ระบบออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Thales Mirador
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Thales TDS
เรดาร์เดินเรือ Sperry Marine VisionMaster FT 2 ชุด
โซนาร์ Atlas Elektronik DSQS-21C
ระบบอำนวยการรบ Thales TACTICOS
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Thales MOC Mk 3 2 ชุด 
ระบบควบคุมการยิง (ตอร์ปิโด) Ultra Electronics ATLAPS
ระบบตอบรับสัญญาณพิสูจน์ฝ่าย แบบ Mk X (SIF) Bendix AN/APX-72
ระบบนำร่องด้วยแรงเฉื่อย แบบริงเลเซอร์ Teledyne TSS Mk 31 Orion IRS
ระบบหาตำบลที่เรือด้วยดาวเทียม JRC JRC-224 DGPS
เครื่องวัดความเร็วเรือ Sperry Marine NaviKnot 350
ระบบอุตุนิยมวิทยา R. M. Young

http://thaiarmedforce.com/inventory/34-thailand-inventory/51-rtn-combatship-spec.html
ประมวลภาพการปฏิบัติภารกิจต่างๆ ของเรือ..






Naresuan class frigates of the Royal Thai Navy

ข้อมูลเกี่ยวกับเรือฟริเกต ชุดเรือหลวงนเรศวร ของกองทัพเรือไทย ณ ปัจจุบัน : Naval Analyses: Naresuan class frigates of the Royal Thai Navy: Written by D-Mitch ..



วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุดเรือหลวงปัตตานี (OPV) ..

ข้อมูลเรือตรวจการณ์ไกลฝั่ง (OPV) ชุดเรือหลวงปัตตานี
ร.ล.ปัตตานี (511) สร้างโดย CHINA SHIPBUILDING TRADING COMPANY ขึ้นระวางประจำการ  เมื่อ 7 พ.ย. 2548
ร.ล.นราธิวาส (512) สร้างโดย CHINA SHIPBUILDING TRADING COMPANY ขึ้นระวางประจำการ  เมื่อ 16 เม.ย. 2549
คุณลักษณะทั่วไป
ระวางขับน้ำ : ปกติ (1,460) เต็มที่ (1,635) ตัน
มิติ (ก x ย x ส) : 11.8 x 94.50 x 21.2 ม. น้ำลึกหัว (3.24) ท้าย (3.56) ม.
ความเร็ว : มัธยัสถ์ (15) สูงสุด (25) Kts.
สิ้นเปลือง : มัธยัสถ์ (0.7) สูงสุด (3) กล./ชม.
ระยะปฏิบัติการสูงสุด : 3,500 Nm.
ความจุ: นม.ชพ. (198.121 กล.) น้ำ (76.22 ต.) เสบียง (20วัน)
ปฏิบัติการโดยลำพัง : 20 วัน
เครื่องจักร 
เครื่องจักรใหญ่ดีเซล MAN Diesel (Ruston) 16RK270 2 เครื่อง 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล MAN Diesel D2840 LE301 4 เครื่อง 
เพลาใบจักร 2 เพลา ใบจักรแบบปรับมุมได้ 
อาวุธ 
ปืนใหญ่เรือ OTO Melara 76/62 Super Rapid ขนาด 76 มม./62 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 1 แท่น 
ปืนใหญ่กล Denel Land Systems GI-2 ขนาด 20 มม./93 คาลิเบอร์ แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
ปืนกล U.S. Ordnance M2HB ขนาด 12.7 มม. แท่นเดี่ยว 2 แท่น 
มีระบบรองรับการติดตั้งแท่นยิง Mk 141 สำหรับอาวุธปล่อยนำวิถีพื้น-สู่-พื้น Boeing RGM-84D Harpoon 2 แท่น แท่นละ 4 ท่อยิง 
ลานจอดและโรงเก็บเฮลิคอปเตอร์ สำหรับ ฮ. Agusta Westland Super Lynx 300 1 เครื่อง 
เรือยางทางยุทธวิธีพร้อมเครื่องยนต์ติดท้าย (RHIB) 1 ลำ 
อิเล็กทรอนิกส์ 
เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ/อากาศ Selex RAN-30X/I 
เรดาร์และออปโทรนิกส์ควบคุมการยิง Rhienmetall TMX/EO 
ศูนย์รวบ (ปืนใหญ่เรือ) Rhienmetall TDS 
เรดาร์เดินเรือ Raytheon Anschutz NSC-25 SeaScout 3 ชุด และ Koden (เฉพาะ 512) 
ระบบอำนวยการรบ Atlas Elektronik COSYS 100 
คอนโซลแสดงผลและควบคุมการรบ Atlas Elektronik BM 2000 3 ชุด
ระบบพิสูจน์ฝ่าย (ติดตั้งคู่กับเรดาร์ RAN-30X/I) Selex Communications 
ระบบสื่อสารแบบรวมการ (ICS) Rohde & Schwarz 
ระบบวิทยุสื่อสารผ่านดาวเทียม M-VSAT 
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางยุทธวิธี Avia Satcom Link RTN 
ระบบสะพานเดินเรือแบบรวมการ (IBS) Raytheon Anschutz NSC-series

Royal Thai Navy Combatant Ship Specification | เรือรบของกองทัพเรือไทย

ประมวลภาพ เรือตรวจการณ์ไกลฝั่งชุดเรือหลวงปัตตานี..

วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

เรือหลวงคลองใหญ่ (PGB-522) เรือตรวจการณ์ปืนแห่งราชนาวีไทย

เรือหลวงคลองใหญ่ (PGB-522) เป็นเรือผิวน้ำประเภท เรือตรวจการณ์ระยะปานกลาง เรือตรวจการณ์ปืน สังกัด กองเรือตรวจอ่าว กองเรือยุทธการ ซึ่งเรือหลวงคลองใหญ่เป็นเรือที่อยู่ในชุดเรือหลวงสัตหีบ (จำนวน 6 ลำ) โดยเรือชุดดังกล่าว จำนวน 3 ลำ คือ ร.ล.สัตหีบ , ร.ล.คลองใหญ่ และ ร.ล.ตากใบ ได้ผ่านการปรับปรุงระบบควบคุมการยิงใหม่แล้ว..
เรือชุด ร.ล.สัตหีบ เป็นเรือประเภทเรือตรวจการณ์ปืน ประกอบด้วยเรือ ๖ ลำ คือ ร.ล.สัตหีบ , ร.ล.คลองใหญ่ ,ร.ล.ตากใบ , ร.ล.กันตัง, ร.ล.เทพา และ ร.ล.ท้ายเหมือง 

อู่ต่อเรือ : อิตัลไทย มารีน

คุณลักษณะทั่วไป
ระวางขับน้ำ : ปกติ (260) เต็มที่ (300) ตัน
มิติ (ก x ย x ส) : 7.28 x 50.14 x 16.31 ม. น้ำลึกหัว (1.8) ท้าย (2.8) ม.
ความเร็ว : มัธยัสถ์ (15) สูงสุด (22) Kts.
สิ้นเปลือง : มัธยัสถ์ (0.7) สูงสุด (1.150) กล./ชม.
ระยะปฏิบัติการสูงสุด : 2,500 Nm.
ความจุ: นม.ชพ. (68.7 กล.) น้ำ (8 ต.) เสบียง (5 วัน)
ปฏิบัติการโดยลำพัง : 5 วัน

ขีดความสามารถ :
 - ระดมยิงฝั่งด้วย ปืน 76/62 
 - ต่อสู้อากาศยานด้วย ปืน 76/62
 - Picket ของกองเรือ
 - ปฏิบัติการร่วมกับ บ./ฮ.
 - ควบคุมบังคับบัญชา ระดับหมู่เรือ
 - ป้องกันระยะประชิดด้วย ปก. 40/70 มม. ปก.20 มม.และ ปก. .50 นิ้ว

ระบบอาวุธ :

ร.ล.สัตหีบ , ร.ล.คลองใหญ่ และ ร.ล.ตากใบ
- ปืน ๗๖/๖๒ จำนวน ๑ กระบอก 
- ปืนกล ๔๐/๗๐ จำนวน ๑ กระบอก 
- ปืนกล ๒๐ มม. GAM CO-1 จำนวน ๒ กระบอก 
- ปืนกล .๕๐ นิ้ว จำนวน ๒ กระบอก 
- ระบบควบคุมการยิง Mirador

ร.ล.กันตัง , ร.ล.เทพา และ ร.ล.ท้ายเหมือง
- ปืน ๗๖/๕๐ จำนวน ๑ กระบอก 
- ปืนกล ๔๐/๖๐ จำนวน ๑ กระบอก 
- ปืนกล ๒๐ มม. GAM CO-1 จำนวน ๒ กระบอก
- ปืนกล .๕๐ นิ้ว จำนวน ๒ กระบอก

วันศุกร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

Cobra gold 2017 : การฝึกดำเนินกลยุทธ์ด้วยกระสุนจริง 24 ก.พ.60

กองทัพไทย กองทัพสหรัฐอเมริกา และกองทัพมาเลเซีย ร่วมกันนำเครื่องยุทโธปกรณ์ทางทหาร เข้าฝึกดำเนินกลยุทธ์ด้วยกระสุนจริง เพื่อโจมตีเข้ายึดพื้นที่เป้าหมาย โดยมีพลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และตัวแทนกองทัพจากมิตรประเทศ ร่วมกันชมการฝึกและเป็นประธานปิดการฝึกคอบร้าโกลด์ 2017 ณ สนามฝึกทางยุทธวิธี กองทัพภาคที่ 2 อ.วังน้ำเขียว จ.นครราชสีมา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560
ภาพ วัชรชัย คล้ายพงษ์ (Watcharachai Klaipong)
#NationPhoto #วัชรชัยคล้ายพงษ์ #กองทัพไทย #คอบร้าโกลด์ #CobraGold2017 #กลยุทธ์ด้วยกระสุนจริง


ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นประธานในการตรวจเยี่ยมการฝึกดำเนินกลยุทธ์ด้วยกระสุนจริง ในการฝึกคอบร้าโกลด์ 2017

เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 พลเอก สุรพงษ์ สุวรรณอัตถ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นประธานในการตรวจเยี่ยมการฝึกดำเนินกลยุทธ์ด้วยกระสุนจริงในการฝึกคอบร้าโกลด์ 2017 ณ สนามฝึกทางยุทธวิธี กองทัพภาคที่ 2 จังหวัดนครราชสีมา โดยมีผู้แทนมิตรประเทศที่เข้าร่วมการฝึกประกอบด้วย รองประธานเสนาธิการร่วม กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น ผู้บัญชาการกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ประจำภาคพื้นแปซิฟิก เสนาธิการทหารมาเลเซีย อัครราชทูตที่ปรึกษา สหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย เจ้ากรมยุทธการทหารสิงคโปร์ ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 1 หน่วยบัญชาการยุทธศาสตร์อินโดนีเซีย ผู้บัญชาการกองเรือยกพลขึ้นบกที่ 5 เกาหลีใต้ และผู้แทนเหล่าทัพ เข้าร่วมด้วย /http://j5.rtarf.mi.th/cobragold/?p=1669

การผลิต รถถังหลัก OPLOT-T สำหรับกองทัพบกไทย ..

อัพเดทภาพการผลิต รถถังหลัก OPLOT-T สำหรับกองทัพบกไทย เป็นภาพที่ถ่ายในระหว่างที่ นายกรัฐมนตรีของยูเครน นาย Volodymyr Groysman ได้เข้าเยี่ยมชมการผลิต รถถังหลัก OPLOT-T ที่โรงงาน Malyshev ..

Гройсману в Харькове продемонстрировали танк "Оплот" - 23.02 ...